กระเป๋า NG Tube ป้องกันภัย
ที่มาและความสำคัญ
Nasogastric intubation เป็นการใส่สายเข้าทางจมูก
ผ่านหลอดอาหารถึงกระเพาะอาหาร
เป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่เพียงพอ ซึ่งใช้สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ เช่น ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร การกลืนลำบาก เป็นต้น
ปัญหาที่พบมากที่สุดคือสาย NG tubeเลื่อนหรือหลุด เกิดแผลกดทับบริเวณปลายจมูก ทำให้เกิดการอักเสบ ปวด
และยังทำให้ผู้ป่วยเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวภาพลักษณ์ ทำให้ผู้ป่วยสูญเสียความมั่นใจในตนเอง
จากปัญหาข้างต้นจึงได้คิดประดิษฐ์กระเป๋า NG Tube ป้องกันภัยเพื่อเก็บสายให้อาหารที่อยู่นอกร่างกาย
เป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่เพียงพอ ซึ่งใช้สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ เช่น ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร การกลืนลำบาก เป็นต้น
ปัญหาที่พบมากที่สุดคือสาย NG tubeเลื่อนหรือหลุด เกิดแผลกดทับบริเวณปลายจมูก ทำให้เกิดการอักเสบ ปวด
และยังทำให้ผู้ป่วยเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวภาพลักษณ์ ทำให้ผู้ป่วยสูญเสียความมั่นใจในตนเอง
จากปัญหาข้างต้นจึงได้คิดประดิษฐ์กระเป๋า NG Tube ป้องกันภัยเพื่อเก็บสายให้อาหารที่อยู่นอกร่างกาย
การประดิษฐ์
นำผ้ากว้าง 15 เซนติเมตร ยาว 12 เซนติเวตร (ผืนที่1) นำผ้ากว้าง 13
เซนติเมตร ยาว 12เซนติเมตร(ผืนที่2)
นำมาเย็บติดกัน 3 มุม และเย็บฝาปิดปากถุง ติดกระดุมชนิดเม็ด 2 ฝาด้านใน จากนั้นใช้ผ้าทำห่วงวงกลมเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2–3 เซนติเมตร เย็บห่วงผ้าติดที่ตรงกึ่งกลางริมขอบบนของถุง
นำมาเย็บติดกัน 3 มุม และเย็บฝาปิดปากถุง ติดกระดุมชนิดเม็ด 2 ฝาด้านใน จากนั้นใช้ผ้าทำห่วงวงกลมเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2–3 เซนติเมตร เย็บห่วงผ้าติดที่ตรงกึ่งกลางริมขอบบนของถุง
การนำไปใช้
1. เช็ดทำความสะอาดบริเวณกระเปาะฝาปิดจุกปลายให้สะอาดม้วนสายให้อาหารเป็นวงกลมใส่เก็บในถุง
2. ปิดปากถุงดึงฝาปิดลงให้กระดุมเหล็กล็อคติด
3. ใช้เข็มกลัดห่วงบนถุงให้ติดกับเสื้อบริเวณ ด้านใดด้านหนึ่ง ปรับระดับสูงต่ำได้ตามความสะดวก คล้องห่วงถุงกับกระดุมด้านหน้าของเสื้อ
เมื่อนำนวัตกรรมนี้ได้ใช้จริงที่โรงพยาบาลทัพทัน จังหวัดอุดรธานี
พบว่าสามารถช่วยให้ไม่มีการเลื่อนหลุดของสาย NG tube
ข้อดี
- เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลี่อนไหวให้แก่ผู้ป่วยที่ใส่สาย NG
tube
- เพื่อรักษาภาพลักษณ์ของผู้ป่วยที่ใส่สาย NG
tubeและเพิ่มความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติในการดูแลพยาบาล
- ลดปัญหาเกี่ยวกับปลายสายแกว่งเคลื่อนไหวไปมาของสาย NG
tube ซึ่งทำให้ผู้ป่วยเกิดความปวด
รำคาญและไม่สุขสบาย
- มีความปลอดภัย ไม่เกิดการสําลักหรืออันตรายจาก NG
Tube เลือนหลุด
ข้อเสีย
• หากผู้ป่วยไม่รักษาทำความสะอาดถุงผ้าใส่ NG
Tube อาจทำให้เกิดเชื้อราหรือเชื้อแบคทรีเรีย
ซึ่งส่งผลให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายทางสาย NG Tube ได้
ตึกผู้ป่วยใน 3
โรงพยาบาลบ้านฉาง.นวัตกรรม Marking กันเลือน.สืบค้นเมื่อวันที่
22 มีนาคม 2559.
จากเว็บไซต์ http://www.banchanghospital.net/hospital/admin/files/d08.
โรงพยาบาลทัพทัน.(2553).เก็บสายให้อาหารทางจมูก ( NG tube ) ใส่ถุง BABY .
สืบค้นเมื่อวันที่
22 มีนาคม 2559.จากเว็บไซต์ http://www.thapthanhospital.go.th/
เสาวนาปิยะพิสุทธิ์(2548).การให้อาหารทางสายจมูกและภาวะแทรกซ้อน.สืบค้นเมื่อวันที่
22 มีนาคม 2559.
จากเว็บไซต์ https://sites.google.com/site/joepruetthigon/home/mu/ramathibodi-nursing.
เสาวนา ปิยะพิสุทธิ์.(2548).นวัตกรรมถุงเก็บสายให้อาหารทางจมูกถึงกระเพาะอาหารส่วนที่อยู่ภายนอกร่างกาย.
สืบค้นเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2559. จากเว็บไซต์https://sites.google.com/site/joepruetthigon/home/mu/ramathibodi-nursing.
สืบค้นเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2559. จากเว็บไซต์https://sites.google.com/site/joepruetthigon/home/mu/ramathibodi-nursing.
จัดทำโดย
นางสาว ธารรัตน์ บัวคง
5701210385 Sec A
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบน่าสนใจดีค่ะ มีประโยชน์ต่อผู้ป่วยมากๆค่ะ
ตอบลบน่าจะเป็นประโยชน์กับผู้ป่วยมากน่ะครับ
ตอบลบเนื้อหามีสาระน่ารู้ดี ถ้านำไปใช้ประโยชน์กับผู้ป่วยได้จริง
ผู้ป่วยบ่างท่านอาจจะต้องการสิ่งนี้อยู่น่ะครับ
ถือว่าเป็นสิ่งที่ช่วยเหลือผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี ข้อดีมีเยอะ มีข้อเสียเพียงเล็กน้อย แต่ถ้ามองถึงคุณสมบัติที่มีอยู่ นับเป็นสิ่งที่น่านำไปใช้ช่วยเหลือผู้ป่วยเป็นอย่างยิ่ง
ตอบลบน่าสนใจมากเลยค่ะ เป็นประโยชน์และเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของผู้ต้องหารใช้
ตอบลบน่าสนใจมากเลยค้ะ เป็นประโยชน์แก่ผู้ป่วยมากๆเลย
ตอบลบน่าสนใจมากเลยค้ะ เป็นประโยชน์แก่ผู้ป่วยมากๆเลย
ตอบลบ