ขาเทียม The phoenix
ขาเทียม The phoenix มีจุดเริ่มต้นจากศาสตราจาร์คาเซรูนีและทีมงานของศูนย์วิจัยหุ่นยนต์และวิศวกรรมมนุษย์
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ สหรัฐอเมริกา
ซึ่งได้วิจัยและพัฒนาโครงการขาเทียมมาตั้งแต่ปีค.ศ.2000โดยเป้าหมายแรกที่ตั้งไว้คือ
ให้คนที่ใช้ขาเทียมสามารถถือของหนักๆได้นานขึ้น ต่อมาศาสตราจารย์คาเซรูนีได้เล็งเห็นว่าขาเทียมดังกล่าวสามารถนำมาพัฒนาต่อยอดเพื่อใช้ในทางการแพทย์ได้
โดยเฉพาะการช่วยให้ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งล่างที่ต้องนั่งรถเข็นสามารถกลับมาเดินได้ดังเดิม ดังนั้นจึงได้พัฒนาโครงการขาเทียม
The phoenix ขึ้น
ขาเทียมนี้ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลักคือ 2 ส่วน คือ Body Assembly และ Activation Assembly ซึ่งทั้ง 2 ส่วนทำจากอะลูมิเนียมและสเตนเลส ขาเทียมมีน้ำหนัก 580 กรัม สามารถรองรับน้ำหนักผู้ป่วยได้ถึง 125 กิโลกรัม ส่วนบนของขาเทียมยาว 127 มิลลิเมตร ส่วนปลายท่อถึงปลายล่างพีระมิดยาว 130 มิลลิเมตร
ขาเทียมนี้ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลักคือ 2 ส่วน คือ Body Assembly และ Activation Assembly ซึ่งทั้ง 2 ส่วนทำจากอะลูมิเนียมและสเตนเลส ขาเทียมมีน้ำหนัก 580 กรัม สามารถรองรับน้ำหนักผู้ป่วยได้ถึง 125 กิโลกรัม ส่วนบนของขาเทียมยาว 127 มิลลิเมตร ส่วนปลายท่อถึงปลายล่างพีระมิดยาว 130 มิลลิเมตร
ส่วนประกอบและลักษณะของขาเทียมThe
phoenix
การใช้งาน
ขาเทียมนี้ใช้สำหรับผู้ป่วยคนเดียว โดยมีมอเตอร์ 2 ตัวติดไว้ที่สะโพก
แล้วสวมขาเทียมไว้ที่ขาผู้ป่วยแล้วปรับให้พอดีกับขาของผู้ป่วย ซึ่งผู้ป่วยสามารถควบคุมการเดินของขาแต่ละข้างได้
โดยกดปุ่มที่ติดมากับไม้ค้ำ
มุมงอได้สูงสุด 130 °
และจะมีแบตเตอรี่ซึ่งใช้เป็นพลังงานในการใช้ขาเทียม ซึ่งใช้ได้นานถึง 8 ชั่วโมงอยู่ด้านหลังกระเป๋าสะพาย
ข้อดีของขาเทียม
The
phoenix
-ช่วยให้ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งล่างที่ต้องนั่งรถเข็นสามารถเดินได้ และเคลื่อนไหวได้มากขึ้น
- มีลักษณะเบาทำให้สามารถเคลื่อนไหวได้กระฉับกระเฉงมากขึ้น
- สามารถปรับระดับให้เข้ากับขาผู้ใช้ได้
ข้อจำกัดการใช้งาน
- มีระยะเวลาจำกัดในการคุ้มครองของผลิตภัณฑ์
- มีระยะเวลาจำกัดในการคุ้มครองของผลิตภัณฑ์
- มีการจำกัดน้ำหนักและกิจกรรมสำหรับการใช้ผลิตภัณฑ์
- ต้องหลีกเลี่ยงสภาพแวดล้อมที่เป็นน้ำ
มีความเป็นกรด-ด่างสูง
- สามารถใช้งานได้ในอุณหภูมิ
15˚C
ถึง 50˚C.
การบำรุงรักษา
- ตรวจสอบสภาพของน็อตโดยไม่ขันให้แน่นจนเกินไป และทำความสะอาดตามความจำเป็น
- แจ้งผู้ดูแลเมื่อมีความผิดปกติ เช่น สวิงแน่นเกินไป
เกิดการติดขัดของการแกว่ง สามารถเคลื่อนไหวได้ลดลงและมีเสียงดังเกิดขึ้น
- วิธีการทำความสะอาดคือ ใช้ผ้าชุบน้ำสบู่อ่อนๆ ทำความสะอาดผิวด้านนอก
ไม่ทำความสะอาดแรงจนเกินไป หลังจากนั้นเช็ดให้แห้งเช็ดให้แห้ง
คำแนะนำ
- หากพบความผิดปกติหรือมีเสียงดังผิดปกติให้รีบแจ้งผู้ดูแล
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับความร้อนสูง
- หลีกเลี่ยงการโดนน้ำ
หากมีการเปียกน้ำควรเช็ดให้แห้ง
- ไม่เหมาะที่จะใช้ในการวิ่งหรือขี่จักรยาน
หรือกีฬาประเภทหิมะ
- ไม่ควรเปลี่ยนแปลงลักษณะขาเทียมด้วยตัวเองหากมีปัญหาควรติดต่อแพทย์ผู้ดูแล
เอกสารอ้างอิง
ฟิสกส์ราชมงคล7. (2559). โครงขาเทียมรุ่นใหม่ช่วยผู้ป่วยอัมพาตให้เดินได้(สุนันทา). สืบค้นเมื่อ
ฟิสกส์ราชมงคล7. (2559). โครงขาเทียมรุ่นใหม่ช่วยผู้ป่วยอัมพาตให้เดินได้(สุนันทา). สืบค้นเมื่อ
25 กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://nuclear.rmutphysics.com/blog-sci7/?p=499
วิชาการ.คอม. (2559). โครงขาเทียมรุ่นใหม่ช่วยผู้ป่วยอัมพาตให้เดินได้.
rkarn.com/vnews/504248
Endolite. (2016). Phoenix. Retrieved February 25, 2016, from Endolite Website:
http://www.endolite.com/products/phoenixk2
Meditech. (2559). อุปกรณ์ขาเทียมรุ่นใหม่สำหรับผู้ป่วยอัมพาต. สืบค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ วิชาการ.คอม. (2559). โครงขาเทียมรุ่นใหม่ช่วยผู้ป่วยอัมพาตให้เดินได้.
rkarn.com/vnews/504248
Endolite. (2016). Phoenix. Retrieved February 25, 2016, from Endolite Website:
http://www.endolite.com/products/phoenixk2
2559. จาก http://www.meditechsolution.com/index.php/meditech/
knowledge
ScienceDaily. (2016). A new-generation exoskeleton helps the paralyzed to walk.
knowledge
ScienceDaily. (2016). A new-generation exoskeleton helps the paralyzed to walk.
Retrieved February 25, 2016, from ScienceDaily Website : https://www.science
daily.com/releases/2016/02/160204151624.html
daily.com/releases/2016/02/160204151624.html
จัดทำโดย
นางสาวมลิวัลย์ แซ่เห่อ
ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ
ตอบลบ^^
ตอบลบ